TOPTEXTBOOK.COM ศูนย์รวมตำราแปล และ Textbook ชั้นนำจากทั่วโลก

คู่มือปั๊ม(Pump Handbook) ISBN9789749918791

SOLD OUT
฿500.00
คู่มือปั๊ม(Pump handbook) ISBN9789749918791หนังสือเล่มนี้ได้อธิบายพื้นฐานการออกแบบปั๊มและการใช้งานแก่วิศวกรและผู้สนใจโดยทั่วไปก่อนที่จะก้าวสู่ระดับสูงต่อไปจากการสอนวิชาก
เหลือ 0 ชิ้น
  • หมวดหมู่ : ปั๊ม วาล์ว ท่อ
  • รหัสสินค้า : 001167

รายละเอียดสินค้า คู่มือปั๊ม(Pump Handbook) ISBN9789749918791

 

คู่มือปั๊ม(Pump handbook) ISBN9789749918791

 

หนังสือเล่มนี้ได้อธิบายพื้นฐานการออกแบบปั๊มและการใช้งานแก่วิศวกรและผู้สนใจโดยทั่วไปก่อนที่จะก้าวสู่ระดับสูงต่อไปจากการสอนวิชากลศาสตร์ของไหลและค้นคว้าในเรื่องการออกแบบปั๊มมาเป็นเวลานาน สิ่งที่สำคํญก็คือฐานข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบซึ่งหาไม่ได้ง่ายๆ

สารบัญ

บทที่ 1 ทฤษฎีพื้นฐาน                                                                                   

1.1  หลักพื้นฐานในการเปลี่ยนพลังงาน

1.2  กราฟเฮดกับอัตราการไหล  (H – Q)ในทางทฤษฎี

1.3  การประยุกต์กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์  ในการไหลผ่านปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

1.4  การวิเคราะห์หาเฮดในการไหลผ่านเฉพาะใบพัดตามกฎข้อที่หนึ่ง ของเทอร์โมไดนามิกส์

1.5  Flow Coefficient, Head Coefficientและ Slip Factor

 

บทที่ 2  การออกแบบใบพัด

2.1  หลักการออกแบบใบพัด

2.2  การคำนวณหารูปร่างVolute

 

บทที่ 3  วิธีการเขียนแบบใบพัด

3.1  วิธีการเขียนแบบใบพัดชนิด  Double Curvature

3.2  วิธีการเขียนแบบใบพัดชนิด  Single Curvature

 

บทที่ 4 การทำนายสมรรถนะโดยวิธี CFD

4.1 พื้นฐานเกี่ยวกับComputational Fluid Dynamics (CFD)

4.2 ขบวนการออกแบบใบพัด

4.3 โมเดลทางคณิตศาสตร์

4.4 พารามิเตอร์ในการหาสมรรถนะ

4.5 การวิเคราะห์การไหลในใบพัด

4.6 ผลของการวิเคราะห์

4.7 การทำนายคาวิเตชั่นที่เกิดขึ้นบนใบพัดของปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

 

บทที่ 5  การทดสอบปั๊ม

5.1 หลักพื้นฐานในการทดสอบปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

5.2  มาตรฐานในการทดสอบปั๊ม

5.3  การทดสอบทางไฮดรอลิกของปั๊ม

5.4  การทดสอบปั๊มชนิดแนวตั้ง

 

บทที่ 6  หลักการของ  NPSH

6.1 ลักษณะของความดันตามเส้นทางของของไหล

6.2 คำจำกัดความของ  NPSH

6.3 แพคเตอร์ต่างๆ ที่มีผลต่อ NPSH

6.4 ผลของของเหลวที่สูบ

6.5 ผลของการต่อท่อทางเข้า

6.6 ผลของวัสดุที่ใช้ทำปั๊ม

6.8 การทดสอบหา NPSHRสำหรับปั๊มในแนวตั้ง

 

บทที่ 7    การคำนวณความสูญเสียในระบบท่อ

7.1 การคำนวณเฮด

 

บทที่ 8 การไหลในท่อแยก

8.1 ลักษณะของกราฟที่มีปั๊มมากกว่า 1 ตัว

8.2 กราฟลักษณะของปั๊มและกราฟลักษณะของระบบสำหรับการระบายน้ำ

8.3 วิธีการควบคุมอัตราการไหลของปั๊ม

8.4 ระบบไซฟ่อนหรือกาลักน้ำ

 

บทที่ 9    การคำนวณหาสมรรถนะของปั๊มในแนวตั้ง

9.1 พื้นฐานทั่วไปในการคำนวณเฮด

9.2 กำลังม้าของโบลและประสิทธิภาพ

9.3 การแก้ไขจำนวนสเตจ

9.4 ระยะการจุ่มและ NPSH

9.5 ช่วงของกราฟที่ทำงานอย่างต่อเนื่อง

9.6 ความสูญเสีย

9.7 การสูญเสียกำลัง

9.8 การคำนวณประสิทธิภาพ

9.9 การคำนวณ  NPSH  ใน Barrel  Pump

 

บทที่ 10  Packing สำหรับปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

10.1 การออกแบบ  Packing Ring

10.2 หลักพื้นฐานการทำงานของ Packing

10.3 การรั่วและการสิ้นเปลืองกำลัง

10.4 ข้อมูลการใช้งาน

10.5 ขีดจำกัดทางสภาวะแวดล้อม

10.6 การทำงานของ Packing

10.7 วิธีการเลือก Packing ที่ถูกต้อง

10.8 การติดตั้ง  Packing สำหรับปั๊มที่ถูกต้อง

10.9 การติดตั้ง  Packingสำหรับวาล์วที่ถูกต้อง

10.10 การตรวจสอบ  Packing ปัญหาและข้อเสนอแนะในการแก้ไข

 

บทที่ 11 เมคคานิคอลซีล

11.1 พื้นฐานการทำงานของเมคคานิคคอลซีล

11.2 การจำแนกซีล

11.3 ระบบซีลในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

11.4 ประเภทของซีลในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีตามมาตรฐาน  API 682

11.5 ชนิดของ Mating Ring

11.6 โครงสร้างของวัสดุ

11.7 ปลอกอัด

11.8 การติดตั้งเมคคานิคอลซีล

11.9 งานปฏิบัติการที่ควรรู้เพิ่มเติบเกี่ยวกับเมคคานิคอลซีล

 

บทที่ 12  พฤติกรรมของปั๊มแบบแรงเหวี่ยงในการทำงาน

12.1 คุณลักษณะของปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

12.2 การควบคุมปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

12.3 การปรับแต่งใบพัดให้สอดคล้องกับการใช้งาน

12.4 กราฟแรงบิดและรอบหมุน

12.5  เวลาในการสตาร์ทปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

12.6  เวลาในการหยุดปั๊มแบบแรงเหวี่ยง  (ไม่คำนึงถึงคลื่นความดัน)

12.7  การสูบของเหลวอื่น

12.8  อัตราการไหลที่น้อยที่สุด

 

บทที่ 13 ข้อมูลสำหรับการวางแผนการติดตั้งปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

13.1 การออกแบบทางเข้าของปั๊มในแนวตั้ง

13.2   แนวทางการออกแบบท่อทางดูดและท่อทางเข้า

13.3  คำแนะนำในการติดตั้งปั๊มตามมาตรฐาน  Hydraulic Institute

13.4  ถังดูด

13.5  ขนาดของบ่อสูบ

 

บทที่ 14 พื้นฐานทางไฮดรอลิกที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา

14.1  การวิเคราะห์การไหลแบบไม่คงตัว

14.2  วิธีการคำนวณคลื่นความดันโดยการประมาณ

14.3  คุณลักษณะของปั๊มแบบสมบูรณ์

14.4  ปรากฎการณ์การเกิดค้อนน้ำในระบบของปั๊ม

14.5  อุปกรณ์ป้องกันการเกิดค้อนน้ำ

14.6  มาตรการป้องกัน

14.7  อุปกรณ์ควบคุมและการวัดสำหรับปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

14.8  เสียงที่ปล่อยออกจากปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

14.9  การสั่นของปั๊มแบบแรงเหวี่ยง

 

บทที่ 15 การติดตั้งและการบำรุงรักษา

15.1  การติดตั้งปั๊ม

15.2  สลักเกลียวที่ใช้ยึดแท่นปั๊ม

15.3  โหลดบนพื้นคอนกรีต

 

บทที่ 16 องค์ประกอบทางเมคคานิคและไฮดรอลิกของปั๊ม

16.1 หลักการทำงานของไดนามิคซีล

16.2 การคำนวณแรงรุน

16.3 ข้อมูลทางสถิติในการหาประสิทธิภาพของปั๊ม

16.4 การโก่งของเพลา

16.5 แรงภายนอกและโมเมนต์ที่เกิดขึ้นบนหน้าแปลนของปั๊ม

16.6 Bearing Isolator หรือ Labyrinth Seal

16.7 ความเร็วในการไหล

16.8 การเลือกใช้ปั๊มเพื่อการประหยัดพลังงาน

16.9 แรงที่กระทำกับท่อ

16.10 แนวทางในการเลือกคัปปลิ้ง

 

บทที่ 17 วาล์วสำหรับปั๊มน้ำ

17.1 วาล์วสำหรับปั๊มน้ำ

17.2 โครงสร้างของวาล์ว

 

บทที่ 18 การล่อน้ำ

18.1 หลักทั่วไป

18.2 ระบบล่อน้ำรวม

18.3 ปั๊มที่ล่อน้ำด้วยตัวเอง

18.4 ระบบไล่อากาศในของเหลว

18.5 การป้องกันเมื่อไม่มีการล่อน้ำ

 

บทที่ 19 ระบบควบคุมการไหลต่ำสุด

19.1 แฟคเตอร์ที่มีอิทธิพลต่อการทำงานของปั๊มที่อัตราไหลต่ำๆ

19.2 การกำหนดอัตราการไหลต่ำสุด

19.3 แฟคเตอร์ในการออกแบบระบบควบคุมอัตราการไหลต่ำสุด

19.4 ระบบป้องอัตราการไหลต่ำๆ ประเภทของระบบบายพาสและข้อพิจารณาในการออกแบบ

19.5 วาล์วควบคุมการไหลวนแบบอัตโนมัติ

19.6 ระบบปิดปั๊มอย่างปลอดภัย

19.7 ระบบบายพาสกรณีเฉพาะ

19.8 การบายพาสสำหรัยปั๊มที่เปลี่ยนรอบหมุนได้

 

บทที่  20  ระบบปรับความดันของน้ำ

20.1 ประเภทของระบบเพิ่มความดัน

20.2 การออกแบบระบบเพิ่มความดันสำหรับอาคาร

 

บทที่  21 การสูบของเหลวใดๆ

21.1 เปเปอร์สต็อค

21.2 คำจำกัดความและการเปลี่ยนแปลงหน่วย

21.3 การสูญเสียเนื่องจากความเสียดทานของเยื่อกระดาษ ที่แขวนลอยในท่อ

21.4 ของแข็งและสเลอรี่

 

บทที่  22 การประหยัดพลังงาน

22.1 หลักการประมาณค่าใช้จ่ายของพลังงานในการสูบของเหลวหรือน้ำ

22.2 หลักการปรับรอบหมุนของปั๊มแบบแรงเหวี่ยงในการสูบของเหลวหรือน้ำ

22.3  ผลของความเร็วรอบและเส้นผ่าศูนย์กลางของใบพัดสำหรับปั๊มที่ขับด้วยคัปปลิ้งแม่เหล็ก

 

บทที่ 23 การทำงานของเทอร์ไบน์

23.1  การใช้ปั๊มแบบแรงเหวี่ยวหมุนกลับทางทำงานเป็นเทอร์ไบน์

23.2  ลักษณะทั่วไป

 

บรรณานุกรม

ภาคผนวก