TOPTEXTBOOK.COM ศูนย์รวมตำราแปล และ Textbook ชั้นนำจากทั่วโลก

ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)ISBN 9789749918678

SOLD OUT
฿450.00
ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)หนังสือ ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)เล่มนี้ ได้เรียบเรียงและรวบรวมขึ้นมาจากหนังสือภาษาไทย หนังสือภาษาอังกฤษ ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศท
เหลือ 1 ชิ้น
  • หมวดหมู่ : ปฐพีกลศาสตร์-Soil Mechanics
  • รหัสสินค้า : 001141

รายละเอียดสินค้า ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)ISBN 9789749918678

ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)

หนังสือ ปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics)เล่มนี้ ได้เรียบเรียงและรวบรวมขึ้นมาจากหนังสือภาษาไทย หนังสือภาษาอังกฤษ ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศทางระบบอินเทอร์เน็ต เอกสารประกอบการอบรมสัมมนา รวมถึงประสบการณ์จากการสอน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาตามหลักสูตรการเรียนการสอนในสาขาวิศวกรรมโยธา ทั้งระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและระดับปริญญาตรี ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมเกี่ยวกับ

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดิน
  • ส่วนประกอบของดิน
  • การเจาะสำรวจดิน
  • การจำแนกประเภทของดิน
  • การไหลซึมของน้ำในดิน
  • แรงเค้นในมวลดินเนื่องจากแรงกระทำ
  • ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ำและการวิเคราะห์การทรุดตัว
  • กำลังต้านทานแรงเฉือนของดิน
  • แรงดันดินด้านข้าง
  • การวิเคราะห์เสถียรภาพความลาดของดิน
  • ความสามารถในการรับน้ำหนักของดินสำหรับฐานรากตื้น
  • การบดอัดดินและการปรับปรุงคุณภาพดิน

 

สารบัญ

 

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดิน (Basic Formation of Soil)                                                                              

1.1 การศึกษาเกี่ยวกับดิน    

1.2 ลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของดิน    

1.3 แร่ดินเหนียวและพฤติกรรมระหว่างน้ำกับดินเหนียว (Clay Mineral and Clay-water System Behavior)    

 

บทที่ 2 ส่วนประกอบของดิน (Soil Composition)                                                                                    

2.1 ลักษณะของดินตามธรรมชาติ (Characteristic of Natural Soil)    

2.2 ความสัมพันธ์ของปริมาตรที่มีผลต่อคุณสมบัติของดิน (Volume Relationship Effect to Soil Properties)    

2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนช่องว่างกับความพรุน (Relationship Between Void Ratio and Porosity)    

2.4 ความสัมพันธ์ของมวลหรือน้ำหนักที่มีผลต่อคุณสมบัติของดิน (Mass or Weight Relationship Effect to Soil Properties)    

2.5 ความสัมพันธ์ระหว่างมวลหรือน้ำหนักกับปริมาตรที่มีผลต่อคุณสมบัติของดิน (Relationship Between Mass or Weight with Volume Effect to Soil Properties)    

2.6 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density)    

2.7 ความสัมพันธ์อื่นๆ ของคุณสมบัติของดิน (Various of Properties of Soil)    

 

บทที่ 3 การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation)                                                                                                        

3.1 จุดประสงค์ของการสำรวจดิน    

3.2 การวางแผนการสำรวจดิน    

3.3 ตำแหน่งของหลุมเจาะ    

3.4 วิธีการเจาะสำรวจดิน    

3.5 ลักษณะของตัวอย่างดิน    

3.6 การเก็บตัวอย่างดิน    

3.7 การทดสอบในสนาม    

3.8 การรายงานผลการสำรวจดิน    

 

บทที่ 4 การจำแนกประเภทของดิน (Soil Classification)                                                                        

4.1 ลักษณะและรายละเอียดของดินและหิน (Soil and Rock Description Term)    

4.2 การจำแนกตามขนาดของเม็ดดิน (Textural Classification)    

4.3 การวิเคราะห์หาขนาดของเม็ดดิน (Soil Particle Size Analysis)  

4.4 กราฟแสดงการกระจายตัวของเม็ดดิน (Particle-size Distribution Curve)    

4.5 การหาจุดแบ่งสภาพของดิน (Atterberg’s Limits or Consistency Limits)    

4.6 ระบบการจำแนกดินทางวิศวกรรม (Engineering Classification System)    

 

บทที่ 5 การไหลซึมของน้ำในดิน (Water Flowing in Soil)                                                                    

5.1 การดึงดูดของอณูตามเส้น (Capillary Action)    

5.2 สมการเบอร์นูลลี (Bernoulli’s Equation)    

5.3 กฎของดาร์ซี่ (Darcy’s Law)    

5.4 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ในห้องปฏิบัติการ    

5.5 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ของดินหลายชั้น    

5.6 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ของน้ำในดินในสนาม    

5.7 แรงดันรวม แรงดันประสิทธิผล และแรงดันของน้ำ (Total, Effective and Pore Water Pressures)    

5.8 เงื่อนไขการเคลื่อนที่หรือการไหลของน้ำ (Mobile or Flow Condition)    

5.9 ตาข่ายการไหลของน้ำในดินที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง (Flow Net of Isotropic Soil)    

5.10 ความไม่เสถียรภาพเนื่องจากการไหลทำให้เกิดการกัดเซาะในมวลดินเป็นโพรง (Instability Due to Seepage “Piping”)    

5.11 แรงดันยกตัวและแรงดันน้ำ (Uplift Pressure and Water Pressure)    

5.12 การไหลของน้ำผ่านเขื่อนดิน (Flow of Water Through Earth Dam)    

5.13 ตาข่ายการไหลในดินที่มีคุณสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Flow Net in Anisotropic Soil)    

 

บทที่ 6 แรงเค้นในมวลดินเนื่องจากน้ำหนักกระทำ (Stress in Soil Mass Due to Applied Loaded)    

6.1 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น-ความเครียด (Stress-Strain Relationship)    

6.2 ความเค้น-ความเครียดที่จุดใดๆ ในมวลดิน (Stress-Strain at a Point Within a Soil Mass)    

6.3 แบบจำลองความเค้น-ความเครียดของดิน (Stress-Strain Models for Soil)    

6.4 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบจุด (Stress Due to a Concentrate Load)    

6.5 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบเป็นแนว (Stress Due to Long Line Load)   

6.6 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบพื้นที่แนวยาวกระจายสม่ำเสมอ (Stress Due to a Uniform Strip Load)    

6.7 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบเพิ่มขึ้นเป็นเส้นตรงบนพื้นที่เป็นแถบ (Stress Due to a Linearly Increasing Infinite Strip Load)    

6.8 แรงเค้นภายในน้ำหนักกระทำแบบคันดินถม (Stress Due to Embankment Loading)    

6.9 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบจุดโดยวิธีประมาณ (Approximate or Spread Method)    

6.10 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำพื้นที่วงกลมแบบกระจายสม่ำเสมอ (Stress Due to a Uniform Load Circular Area)    

6.11 แรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำพื้นที่สี่เหลี่ยมแบบกระจายสม่ำเสมอ (Stress Due to a Uniform Loaded Rectangular Area)    

6.12 การประมาณแรงเค้นภายใต้น้ำหนักกระทำแบบพื้นที่รูปร่างต่างๆ โดยใช้แผนภูมิของ Newmark (Stress Increment Due to the Arbitrarily Shaped Area Using Newmark’s Chart)    

 

บทที่ 7 ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ำและการวิเคราะห์การทรุดตัว (Consolidation Theory and Settlement Analysis)                                                                                          

7.1 การวิเคราะห์การทรุดตัวแบบทันทีทันใด (Immediate Settlement)    

7.2 กลไกการอัดตัวคายน้ำ (Mechanics of Consolidation)    

7.3 ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ำของ Terzaghi (Terzaghi’s Consolidation Theory)    

7.4 การทดสอบการอัดตัวคายน้ำแบบหนึ่งทิศทาง (The Standard One-dimensional Consolidation Test)    

7.5 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและอัตราส่วนช่องว่าง (Pressure-void Ratio Curve)    

7.6 การหาค่าแรงดันกดทับสูงสุดในอดีต (Determination of Preconsolidation Pressure)    

7.7 กราฟ e – log p สำหรับดินเหนียวอัดแน่นปกติและเกินปกติที่มีความไวตัวน้อยถึงปานกลาง    

7.8 การคำนวณค่าการทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ำ (Computation of Consolidation Settlement)    

7.9 การหาค่าสัมประสิทธิ์การทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ำ (Determination of the Coefficient of Consolidation)    

7.10 อัตราการทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้ำ (Rate of Settlement Due to Consolidation)    

7.11 การทรุดตัวแบบอัดตัวครั้งที่สอง (Settlement Due to Secondary Compression)    

 

บทที่ 8 กำลังต้านทานแรงเฉือนของดิน (Shear Strength of Soils)                                                 

8.1 แรงเค้นเฉือนและแรงเค้นตั้งฉากตามระนาบ (Normal and Shear Stresses Along Plane)    

8.2 วงกลมมอร์ (Mohr’s Circle)    

8.3วิธีการหาจุดโพล์เพื่อหาค่าแรงเค้นตามระนาบ (Pole Method of Finding Along a Plane)    

8.4 สรุปขั้นตอนการหาแรงเค้นตามระนาบโดยวิธีวงกลมมอร์และวิธีหาจุดโพล์ (Procedure of Determination of Plane Stress by Mohr Circle Method and Pole Method)    

8.5 เงื่อนไขการพังทลายของมอร์-คูลอมบ์ (Mohr-Coulomb Failure Criteria)    

8.6 ระนาบเอียงของการวิบัติเนื่องจากแรงเฉือน (Inclination of the Plane of Failure Due to Shear)    

8.7 เงื่อนไขของกำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดิน (Criteria of Shear Strength of Soil)    

8.8 การหาค่าพารามิเตอร์ของกำลังต้านทานแรงเฉือน (Determining Shear Strength Parameters)    

 

บทที่ 9 แรงดันดินด้านข้าง (Lateral Earth Pressure)                                                                                             

9.1 แรงดันดินแบบสถิต (Earth Pressure at Rest)    

9.2 แรงดันดินของ Rankine (Rankine Earth Pressure)    

9.3 แรงดันดินของ Coulomb (Coulomb Earth Pressure)

9.4 ผลกระทบของน้ำหนักบรรทุกกระทำเสมือนแรงดัน (Effects of a Surcharge Load Upon Active Trust)    

9.5 วิธีทางกราฟิกของ Culmann (Culmann’s Method)    

 

บทที่ 10 การวิเคราะห์เสถียรภาพความลาดของดิน (Slope Stability of Soil)                                  

10.1 ลักษณะการวิบัติของลาดชันดิน (Some Types of Slope Failure)    

10.2 สาเหตุของการเกิดการวิบัติเลื่อนของลาดชันดิน (Some Causes of Slope Failure)    

10.3 การวิเคราะห์มวลดินซึ่งวางอยู่บนดินที่น้ำไหลซึมผ่านไม่ได้ที่มีพื้นผิวระนาบเอียง (Analysis of a Mass Resting on an Inclined Layer of Impermeable Soil)    

10.4 ลาดชันดินสำหรับดินที่ไม่มีความเชื่อมแน่นเนื้อเดียวกัน (Slope in Homogeneous Cohesionless Soil, c = 0 and f>0)    

10.5 ลาดชันดินสำหรับดินที่มีความเชื่อมแน่นเนื้อเดียวกัน (Slope in Homogeneous Soil Processing Cohesion, c >0 and f= 0, c >0 and f>0)    

 

บทที่ 11 ความสามารถในการรับน้ำหนักของดินสำหรับฐานรากตื้น (Bearing Capacity of Soil for Shallow Foundation)                                                                                                                                      

11.1 กำลังแบกทานสูงสุดของดิน (The Ultimate Bearing Capacity of Soil)    

11.2 ความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง (Some of the Terms Define)    

11.3 ชนิดการวิบัติของดิน (Types of Failure in Soil)    

11.4 ภาพรวมทฤษฎีของความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน (An Overview of Bearing Capacity Theories)    

11.5 ทฤษฎีความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานของ Terzaghi (Terzaghi’s Bearing Capacity Theory)    

11.6 แฟกเตอร์ความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานของ Skempton (Nc)    

11.7 ผลกระทบของน้ำใต้ดินต่อความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน (Effect of Water Table on Bearing Capacity)    

11.8 สมการทั่วไปสำหรับหาค่าความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน (The General Bearing Capacity Equation)    

11.9 ความแม่นตรงของสมการหาความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน (Validity of the Bearing Capacity Equation)    

11.10 ผลกระทบของดินที่มีคุณสมบัติการยุบตัวต่อความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน (Effect of Soil Compressibility on Bearing Capacity of Soil)    

11.11 ความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานของฐานรากต่อน้ำหนักกระทำเยื้องศูนย์ (Bearing Capacity of Foundations Subjected to Eccentric Loads)    

11.12 ความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานสูงสุดของฐานรากจากการประมาณโดยค่า SPT (N-value) (Ultimate Bearing Capacity of Footing Based on SPT Value; N)    

11.13 วิธีการหาค่าความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานด้วยวิธี CPT (The CPT Method of Determination Ultimate Bearing Capacity)    

11.14 ความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทานสูงสุดของฐานรากซึ่งวางอยู่บนชั้นดินถมอิ่มตัว (Ultimate Bearing Capacity of Footing Resting on Saturated Deposits of Soil)    

11.15 กำลังแบกทานของฐานรากวางบนดินลาดชัน (Bearing Capacity of Foundation on Top of a Slope)    

 

 

บทที่ 12 การบดอัดดินและการปรับปรุงคุณภาพดิน (Soil Compaction and Stabilization)   

12.1 หลักการบดอัดดิน (Principle of Compaction)    

12.2 ทฤษฎีการบดอัดดิน (Theory of Compaction)    

12.3 การทดสอบการบดอัดดินในห้องปฏิบัติการ (Compaction Testing in Laboratory)    

12.4 คุณสมบัติและโครงสร้างของดินเชื่อมแน่นที่ถูกบดอัด (Properties and Structure of Compacted Cohesive Soil)    

12.5 เครื่องจักรกลสำหรับการบดอัดและการใช้งาน (Field Compaction Equipment and Procedure Equipment)    

12.6 การบดอัดดินในสนาม (Field Compaction)    

12.7 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบดอัดดิน (Factors Affecting Compaction)    

12.8 การควบคุมการบดอัดในสนาม (Field Control of Compaction)    

12.9 ข้อกำหนดในการบดอัดดิน (Field Compaction Control)    

12.10 การบดอัดดินระดับลึก (Compaction for Deep Layers of Soil)    

12.11 การปรับปรุงคุณภาพดินด้วยวิธีอื่นๆ (Miscellaneous Soil Stabilizations)